ศาสนวัตถุของศาสนาอิสลาม มีดังนี้
1 พระมหาคัมภีร์อัลกุรอาน “กุรอาน” ภาษาอาหรับแปลว่า “การอ่าน” หมายถึง หนังสือ หรือคัมภีร์ซึ่งเป็นบัญญัติของพระเจ้า แบ่งเป็น ๓๐ ภาค ๑๑๔ บท และวรรคต่างๆ ๖,๐๐๐ กว่าวรรค ในสมัยท่าน
นบีมุฮัมมัดยังไม่ได้มีการจัดหมวดหมู่ต่อมาในสมัยอบูบักร์ คอลีฟะห์คนแรก ได้รวบรวมบันทึกเป็นรูปเล่ม และตัดลอกกันเผยแพร่ไปยังดินแดนต่างๆ ที่นับถือศาสนาอิสลาม มุสลิมถือว่าพระมหาคัมภีร์อัลกุรอานเป็นธรรมนูญแห่งชีวิต มีความศักดิ์สิทธิและเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ เนื้อหาในคัมภีร์ให้ความรู้ในเรื่องศาสตร์ต่างๆ ตลอดจนวิชาการ การดำรงชีวิต กฎเกณฑ์ความประพฤติและบทบัญญัติในศาสนา อิสลามที่มุสลิมต้องถือปฏิบัติตาม
2 อัลฮะดีษ โอวาทและจริยวัตรของท่านนบีมุฮัมมัด ซึ่งสาวกของท่านเป็นผู้รวบรวม มีเนื้อหาสรุปได้ คือ แสดงอุปนิสัยของท่านนบีมุฮัมมัด เพื่อเป็นแบบอย่างแก่มุสลิม แสดงจรรยา บรรณตามหน้าที่ต่อบุคคลผู้ใกล้ชิด เช่น บิดามารดา ครูอาจารย์ มิตรสหาย เป็นต้น แสดงมารยาททางสังคม เช่น การกิน การร่วมประชุม การเข้ามัสยิด ให้มีความสำรวมตนเพื่อมิให้รับโทษทางศาสนาให้พัฒนาคุณธรรมให้เกิดขึ้นเพื่อได้รับพรจากพระเจ้า
ภาพพระมหาคัมภีร์อัลกุรอาน ต้นฉบับเขียนด้วยลายมือ

ที่มา: บัณฑิต ลิ่วชชัย (2558: 140)

พระมหาคัมภีร์อัลกุรอาน

พระมหาคัมภีร์อัลกุรอาน “กุรอาน” ภาษาอาหรับแปลว่า “การอ่าน” หมายถึง หนังสือ หรือคัมภีร์ซึ่งเป็นบัญญัติของพระเจ้า แบ่งเป็น ๓๐ ภาค ๑๑๔ บท และวรรคต่างๆ ๖,๐๐๐ กว่าวรรค ในสมัยท่าน นบีมุฮัมมัดยังไม่ได้มีการจัดหมวดหมู่ต่อมาในสมัยอบูบักร์ คอลีฟะห์คนแรก ได้รวบรวมบันทึกเป็นรูปเล่ม และตัดลอกกันเผยแพร่ไปยังดินแดนต่างๆ ที่นับถือศาสนาอิสลาม มุสลิมถือว่าพระมหาคัมภีร์อัลกุรอานเป็นธรรมนูญแห่งชีวิต มีความศักดิ์สิทธิและเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ เนื้อหาในคัมภีร์ให้ความรู้ในเรื่องศาสตร์ต่างๆ ตลอดจนวิชาการ การดำรงชีวิต กฎเกณฑ์ความประพฤติและบทบัญญัติในศาสนา อิสลามที่มุสลิมต้องถือปฏิบัติตาม

ศาสนวัตถุของศาสนาอิสลาม มีดังนี้
1 พระมหาคัมภีร์อัลกุรอาน “กุรอาน” ภาษาอาหรับแปลว่า “การอ่าน” หมายถึง หนังสือ หรือคัมภีร์ซึ่งเป็นบัญญัติของพระเจ้า แบ่งเป็น ๓๐ ภาค ๑๑๔ บท และวรรคต่างๆ ๖,๐๐๐ กว่าวรรค ในสมัยท่าน
นบีมุฮัมมัดยังไม่ได้มีการจัดหมวดหมู่ต่อมาในสมัยอบูบักร์ คอลีฟะห์คนแรก ได้รวบรวมบันทึกเป็นรูปเล่ม และตัดลอกกันเผยแพร่ไปยังดินแดนต่างๆ ที่นับถือศาสนาอิสลาม มุสลิมถือว่าพระมหาคัมภีร์อัลกุรอานเป็นธรรมนูญแห่งชีวิต มีความศักดิ์สิทธิและเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ เนื้อหาในคัมภีร์ให้ความรู้ในเรื่องศาสตร์ต่างๆ ตลอดจนวิชาการ การดำรงชีวิต กฎเกณฑ์ความประพฤติและบทบัญญัติในศาสนา อิสลามที่มุสลิมต้องถือปฏิบัติตาม
2 อัลฮะดีษ โอวาทและจริยวัตรของท่านนบีมุฮัมมัด ซึ่งสาวกของท่านเป็นผู้รวบรวม มีเนื้อหาสรุปได้ คือ แสดงอุปนิสัยของท่านนบีมุฮัมมัด เพื่อเป็นแบบอย่างแก่มุสลิม แสดงจรรยา บรรณตามหน้าที่ต่อบุคคลผู้ใกล้ชิด เช่น บิดามารดา ครูอาจารย์ มิตรสหาย เป็นต้น แสดงมารยาททางสังคม เช่น การกิน การร่วมประชุม การเข้ามัสยิด ให้มีความสำรวมตนเพื่อมิให้รับโทษทางศาสนาให้พัฒนาคุณธรรมให้เกิดขึ้นเพื่อได้รับพรจากพระเจ้า
ภาพพระมหาคัมภีร์อัลกุรอาน ต้นฉบับเขียนด้วยลายมือ

ที่มา: บัณฑิต ลิ่วชชัย (2558: 140)

พระมหาคัมภีร์อัลกุรอาน

พระมหาคัมภีร์อัลกุรอาน “กุรอาน” ภาษาอาหรับแปลว่า “การอ่าน” หมายถึง หนังสือ หรือคัมภีร์ซึ่งเป็นบัญญัติของพระเจ้า แบ่งเป็น ๓๐ ภาค ๑๑๔ บท และวรรคต่างๆ ๖,๐๐๐ กว่าวรรค ในสมัยท่าน นบีมุฮัมมัดยังไม่ได้มีการจัดหมวดหมู่ต่อมาในสมัยอบูบักร์ คอลีฟะห์คนแรก ได้รวบรวมบันทึกเป็นรูปเล่ม และตัดลอกกันเผยแพร่ไปยังดินแดนต่างๆ ที่นับถือศาสนาอิสลาม มุสลิมถือว่าพระมหาคัมภีร์อัลกุรอานเป็นธรรมนูญแห่งชีวิต มีความศักดิ์สิทธิและเป็นประโยชน์ต่อมนุษย์ เนื้อหาในคัมภีร์ให้ความรู้ในเรื่องศาสตร์ต่างๆ ตลอดจนวิชาการ การดำรงชีวิต กฎเกณฑ์ความประพฤติและบทบัญญัติในศาสนา อิสลามที่มุสลิมต้องถือปฏิบัติตาม